วันเสาร์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2561

สรุปวิจัย /บทความ / ตัวอย่างการสอน

สรุปวิจัย

     1. เป็นการปูพื้นฐานให้กับเด็กโดยคํานึงถึงความสามารคและความเหมาะสมกับวัยของเด็กเป็นหลัก การจัดกิจกรรมปูพื้นฐานทักษะทางการเรียนรู้เป็นการฝึกการใช้ประสาทสัมผัสเช่น ความแตกต่างของรส (การชิม) การรับรู้รสเปรี้ยว หวาน เค็ม          

     2. บูรณาการหน่วยประสบการณ์เข้าด้วยกัน การจัดการศึกษาปฐมวัยไม่ได้แบ่งเป๋นรายวิชา แต่จัดรวมกัน(บูรณาการ) โดยแบ่งแต่ละหน่วยจะประมวลทุกวิชาให้เด็กได้เรียนรู้ การบูรณาการ หมายถึง การจัดรูปแบบกิจกรรมสร้างเสริมประสบการณ์โดยยึดเด็กเป็นสําคัญและนําสิ่งที่เด็กต้องการจะเรียนรู้ในทุกด้านมาลําดับความสําคัญของประสบการณ์จัดให้เหมาะสมสอดคล้องกับพัฒนาการและชีวิตของเด็ก หลักการบูรณาการที่เหมาะสม คือ              

              2.1 ยึดเด็กเป็นสําคัญ เน้นเรื่องที่เด็กสนใจและใกล้ตัวเด็กได้มีโอกาสทํา กิจกรรมอาจเป็นรายบุคคลหรือกลุ่ม ความยากง่ายของกิจกรรมควรมีปะปนกัน              

             2.2 สอดคล้องกับพัฒนาการเด็กปฐมวัยที่มีความสนใจในสิ่งแวดล้อมรอบตัวฉะนั้นจึงเลือกสิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็กคุ้นเคยมาให้เด็กเรียนรู้              

             2.3 ให้ประสบการณ์กว้างขวาง เมื่อเด็กพบเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง เด็กมีโอกาสได้รับประสบการณ์หลายด้านพร้อมกัน ดังนั้น การช่วยให้เด็กได้ประโยชน์เต็มที่จึงน่าจะจัดประสบการณ์แก่เด็กในรูปแบบบูรณาการ







สรุปบทความวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

สรุปบทความวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

สรุปบทความ

     เรื่อง : วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (Science for Early Childhood) 
     ผู้เขียน : บุญไทย แสนอุบล 


     การเรียนวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยนั้นมิใช่หมายถึงสาระทางเคมี ชีววิทยา แต่เด็กปฐมวัยนั้นจะเรียนรู้วิทยาศาสตร์จากสิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็กและธรรมชาติเป็นหลักสำคัญ ซึ่งได้แบ่งสาระทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยได้ 4 หน่วย ดังนี้
    
     หน่วยที่ 1 การสังเกตโลกรอบตัว
     หน่วยที่ 2 การรับรู้ทางประสาทสัมผัสและการรับรู้
     หน่วยที่ 3 รู้ทรงและสิ่งที่เกี่ยวข้อง
     หน่วยที่ 4 การจัดหมู่และการแยกประเภท

     ในการเรียนหน่วยวิทยาศาสตร์ทั้ง 4 เด็กจะตั้งใช้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่

  1. การสังเกต
  2. การจำแนกประเภท
  3. การสื่อความหมาย
  4. ทักษะการลงความเห็น
    ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

     การเรียนวิทยาศาสตร์เป็นการเรียนการแก้ไขปัญหาอย่างมีเหตุผล ซึ่งกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยสามารถเรียนรู้ได้โดยครูกับเด็กช่วยกันคิดและปฏิบัติ แบ่งเป็น 5 ขั้นดังนี้

     ขั้นที่ 1 การกำหนดขอบเขตของปัญหา 
ครูกับเด็กร่วมกันคิดตั้งประเด้กปัญหาสิ่งที่ต้องการเรียนรู้ร่วมกัน เช่น ต้นไม้โตได้อย่างไร
     ขั้นที่ 2 ตั้งสมมุติฐาน 
เป็นขั้นของการวางแผนร่วมกัน ในการที่จะทดลองหาคำตอบจากการคาดเดาล่วงหน้า
     ขั้นที่ 3 ทดลองและเก็บข้อมูล 
เป็นขั้นตอนที่ครูกับเด็กร่วมกันดำเนินการตามแผนการทดลองตาสมมุติฐานที่ตั้งไว้ในขั้นที่ 2
     ขั้นที่ 4 วิเคราะห์ข้อมูล 
ครูและเด็กนำผลการทดลองมาสนทนา อภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็นร่วมกัน
     ขั้นที่ 5 สรุปผลคำตอบสมมุติฐาน ว่าผลที่เกดคืออะไร เพราะอะไร ทำไม
     
     กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทั้ง 5 ขั้น เป็นกระบวนการที่ต่อเนื่งเป็นวัฏจักร ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ที่ต้องนำมาใช้ในกระบวนการ คือ การสังเกต การจำแนกประเภทและเปรียบเทียบ การวัด การสื่อสาร การทดลอง การสรุปและการนำไปใช้ 

    
     สาระที่เด็กต้องเรียน
  1. สาระเกี่ยวกับพืช เช่น พืช ต้นไม้ ดอกไม้
  2. สาระเกี่ยวกับสัตว์ เช่น ประเภทของสัตว์ สวนสัตว์
  3. สาระเกี่ยวกับฟิสิกส์ เช่น การจม การลอย
  4. สาระเกี่ยวกับเคมี เช่น รสของผลไม้ ความร้อน
  5. สาระเกี่ยวกับธรณีวิทยา เช่น ดิน ทราย หิน
  6. สาระเกี่ยวกับดาราศาสตร์ เช่น ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์
    เป้าหมายของการเรียนวิทยาศาสตร์
  1. ให้เด็กได้ค้นคว้าและสืบค้นสิ่งต่าง ๆ และปรากฎการณ์ที่มี
  2. ให้เด็กได้ใช้ประบวนการทักษะทางวิทยาศาสตร์อย่างแท้จริง
  3. กระตุ้นความอยากรู้อยากเห็น ความสนใจ  และเจตคติของเด็กให้พบ
  4. ช่วยให้เด็กค้นหาข้อมูลความรู้บางอย่างที่เป็นวิทยาศาสตร์ที่สัมพันธ์กับชีวิตประจำวันและการสืบค้น
หลักการจัดกิจกรรม แบ่งได้ 5 ข้อ
  1. เป็นเรื่องใกล้ตัวเด็ก
  2. เอื้ออำนวยให้แก่เด็กที่กระทำ
  3. เด็กต้องการและสนใจ
  4. ไม่ซับซ้อน
  5. สมดุล   

ตัวอย่างการสอน

การทดลองภูเขาไฟลาวา 


         Boomerang Thailand Channel  เผยแพร่เมื่อ 29 ธ.ค. 2016

ช่องการ์ตูนนานาชาติอันดับ 1 ช่องแรกที่ให้ทุกคนชมฟรี!! https://www.facebook.com/BoomerangTha... https://www.instagram.com/boomerangth... บูมเมอแรง ไทย (อังกฤษ: Boomerang Thailand) หรือมักเรียกกันว่า ช่องบูม เป็นสถานีโทรทัศน์การ์ตูนของประเทศไทย ออกอากาศภาคภาษาไทยอย่างเต็มรูปแบบ ผลิตโดย บริษัท เอ็ม เทิร์นเนอร์ จำกัด นำเสนอการ์ตูนที่เคยออกอากาศทางการ์ตูนเน็ตเวิร์กมาแล้ว มีรูปแบบมาจากบูมเมอแรง สหรัฐอเมริกา ออกอากาศผ่านดาวเทียมไทยคม 6 เอ (อังกฤษ: THAICOM 6A) ผ่านกล่องรับสัญญาณที่มีระบบถอดรหัสสัญญาณ เริ่มออกอากาศเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 255

Record of Learning 15

Record of Learning 14
Science Provision for Early Childhood
Friday 23rd November  2018
08.30-12.30

Topics and content

โปรแกรม Biteable โปรแกรมแอนิเมชัน

Biteable เป็นโปรแกรมสำหรับการสร้างแอนิเมชัน รุ่น Lightweight บางคนถึงขนาดบอกว่าเป็นโปรแกรมที่ใช้งานง่ายมากที่สุดในบรรดาโปรแกรมสร้างงานแอนิเมชันเลยก็ว่าได้ ซึ่งหากใครได้ลองใช้งานก็จะรู้ว่าโปรแกรม Biteable นี้ใช้งานได้อย่างง่ายดายมากจริงๆ ไม่ว่าจะเป็นการสร้างวีดีโอกราฟิก, การสร้างวีดีโอเพื่อนำเสนอ, การสร้างสไลด์โชว์, การสร้างวีดีโอโฆษณา รวมถึงการสร้าง Logo Animations สิ่งต่างๆ เหล่านี้สามารถสร้างขึ้นมาได้จากความสามารถของโปรแกรม Biteable ล้วนๆ ไม่ว่าจะเป็นภาพเคลื่อนไหว ภาพนิ่ง วีดีโอ การไลฟ์แอ็คชั่น ทำคลิปเพลง ก็สามารถทำได้แบบง่ายดาย

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ โปรแกรมBiteable คืออ



ท่านอาจารย์ได้ให้นำนวัตกรรมที่นักศึกษาประดิษฐ์นั้นมานำเสนอเพื่อให้สอดคล้องกับวิชาวิทยาศาสตร์





   


   





การบูรณาการเข้ากับวิชาวิทยาศาสตร์

 



Assessment

Me ตั้งใจฟังคำเเนะนำคำติชมของอาจารย์และนำไปปรับแก้ใข
Friend ตั้งใจฟังและจดบันทึกความรู้เพื่อนำไปใส่ในบล็อกของตัวเอง
Teacher ให้คำแนะนำและคิดชมพร้องกับให้ข้อคิดเพื่อไปปรับใช้


Record of Learning 14

Record of Learning 14
Science Provision for Early Childhood
Friday 16th November  2018
08.30-12.30



Topics and content

อาจารย์ให้ทำแผนผังความคิดออกมาเป๋นหน่อยที่ตกลงกันในกลุ่มเพื่อที่จะทำมาทำใส่โปรแกรมกลุ่มดิฉันเลยเลือกหน่วยข้าว



และเมื่อทำใส่โปรแกรมแล้วก็จะออกมาเป็นแบบนี้




 เมื่อนำมาเสนอให้อาจารย์ ก็จารก็ได้แนะนำให้ปรับแก้และเพิ่มเติมอย่าอื่นเข้าไปเพื่อให้ข้อมูลสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น




จากนั้นอาจารย์ยังให้เขียนแผนการสอนขึ้นมาอีก 3แผนที่จัดกิจกรรมเกี่ยวกับเรื่องข้าว





Me ตั้งใจฟังคำเเนะนำคำติชมของอาจารย์และนำไปปรับแก้ใข
Friend ตั้งใจฟังและจดบันทึกความรู้เพื่อนำไปใส่ในบล็อกของตัวเอง


Teacher ให้คำแนะนำและคิดชมพร้องกับให้ข้อคิดเพื่อไปปรับใช้

Record of Learning 13

Record of Learning 13
Science Provision for Early Childhood
Friday 9th November  2018
08.30-12.30


Topics and content

วันี้อาจารย์ให้ศึกษาข้อมูลความรู้จากคลิปวีดีโอวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความลับของแสง

แสง คือ คลื่นพลังงานรูปหนึ่ง เดินทางในรูปคลื่นด้วยอัตราเร็วสูง 300,000 กิโลเมตรต่อวินาที แหล่งกำเนิดแสงมีทั้งแหล่งกำเนิดที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น แสงดวงอาทิตย์ที่เป็นแหล่งพลังงานของสิ่งมีชีวิต แหล่งกำเนินแสงที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น แสงสว่างจากหลอดไฟ เป็นต้น



1.คุณสมบัติของแสง
2.วัตถุที่แสงกระทบ 3.กล้องรูเข็ม 4.การหักเหของแสง 5.การสะท้อนของแสง 6.การเกิดเงา 7.การเกิดรุ้งกินน้ำ


คุณสมบัติของแสง

จากบทที่แล้ว ที่บอกได้ว่า แสงมีคุณสมบัติเป็นทั้งคลื่นและอนุภาค บทนี้เราจะมาเรียนรู้คุณสมบัติของแสงกันครับ

แสงจะมีคุณสมบัติที่สำคัญ 4 ข้อ ได้แก่

1) เดินทางเป็นเส้นตรง (Rectilinear propagation)

2) การหักเห (Refraction)

3) การสะท้อน (Reflection)

4) การกระจาย (Dispersion)

การเกิดรุ้ง


ปรากฎการณ์รุ้งกินน้ำ เป็นปรากฎการณ์ทางธรรมชาติที่หยดน้ำฝนหรือละอองน้ำทำหน้าที่ปริซึมหักเหแสงจากดวงอาทิตย์ที่ส่องลมาจะเกิดการหักเหทำให้เกิดเป็นแถบสีบนท้องฟ้า เรียกว่าการกระจายแสง

การกระจายแสงเกิดขึ้นเพราะแสงแต่ละสีมีความถี่ไม่เท่ากัน ทำให้ดัชนีหักเหสำหรับแสงแต่ละสีไม่เท่ากัน ส่งผลให้การหักเหแสงภายในหยดน้ำแตกต่างกัน

แสงอาทิตย์หรือรังสีที่ตามมองเห็น (Visible light) มีความยาวคลื่น 400 - 800 นาโนเมตร โดยที่แสงสีม่วงมีความยาวคลื่นสั้นที่สุดคือ 400 นาโนเมตร และแสงสีแดงมีความยาวคลื่นมากที่สุด ภายหลังฝนตกมักจะมีละอองน้ำหรือหยดน้ำเล็กๆ ลอยอยู่ในอากาศ จะทำหน้าที่เสมือนปริซึมหักเหแสงอาทิตย์ (White light) ให้แยกออกเป็นสเปกตรัม 7 สี ได้แก่ ม่วง คราม น้ำเงิน เขียว เหลือง แสด แดง โดยถ้าแสงอาทิตย์ทำมุมกับหยดน้ำแล้วหักเหเป็นมุม 40°เข้าสู่แนวสายตา ก็จะมองเห็นเป็นแสงสีม่วง แต่ถ้าแสงอาทิตย์ทำมุมกับหยดน้ำแล้วหักเหเป็นมุม 42°เข้าสู่แนวสายตา ก็จะมองเห็นเป็นแสงสีแดง


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ วัตถุโปร่งแสง


ตัวกลางของแสง
เมื่อแสงกระทบวัตถุต่างกัน จะผ่านวัตถแต่ละชนิดได้ต่างกัน ทำให้จำแนกวัตถุเหล่านั้นได้เป็นตัวกลางโปร่งใส ตัวกลางโปร่งแสงและตัวกลางทึบแสง
ตัวกลางโปร่งใส หมายถึง ตัวกลางของแสงทำได้จากการมองผ่านวัตถุไปยังแหล่งกำเนิดแสงถ้ามองเห็นแหล่งกำเนิดแสงชัดเจน เรียกวัตถุนั้นว่าตัวกลางโปร่งใส เช่น แผ่นพลาสติกใส แผ่นพลาสติกใสสี แก้วน้ำ กระจกใส
ตัวกลางโปร่งแสง หมายถึง ตัวกลางของแสงที่มองเห็นแหล่งกำเนิดแสงไม่ชัดเจน เช่นแผ่นพลาสติกขุ่น กระดาษไข กระจกฝ้า บางเกล็ดหน้าต่างที่ไม่ต้งการให้แสงเข้ามาก ฯลฯ
ตัวกลางทึบแสง หมายถึง ตัวกลางที่มองวัตถุที่กั้นแสงแล้วไม่เห็นแหล่งกำเนิดแสง แสดงว่าแสงไม่ผ่านวัตถุ เรียกวัตถุนั้นว่า วัตถุทึบแสง เช่น แผ่นกระดาษ แผ่นไม้ กระเบื้องใช้มุงหลังคา ไม้ทำฝาบ้าน

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ กล้องเพอริสโคป

กล้องเพอริสโคป
เกิดจากการสะท้อนแสง เมื่อแสงตกกระทบวัตถุ แสงจะสะท้อนเข้าสู่นัยน์ตา โดยแสงตกกระทบที่กระจกซึ่งติดตั้งให้เอียงทำามุม 45 องศา แล้วจะสะท้อนทำามุม 90 องศา ไปตกกระทบกับกระจกอีกบานหนึ่งที่เอียงทำมุม 45 องศาในระดับสายตา และสะท้อนเข้าตาทำให้เรามองเห็นภาพวัตถุที่เหนือกว่าระดับสายตาได้ โดยมีทิศทางเดียวกับภาพจริง



Assessment

Teacher : อาจารย์มีการอธิบายเพิ่มเติมจากคลิปทตลอด เนื่องจากบางทีนักศึกษาอาจจะฟังไม่ทันและเป็นการกระตุ้นให้นักศึกษาตั้งใจฟัง

Friend : เพื่อนๆตั้งใจเรียน และจดสรุปงานของตนเอง มีความร่วมมือในการตอบคำถาม

Me: ตั้งใจตอบคำถามที่อาจารย์ถามเกี่ยวกับคริปที่อาจารย์ให้ดูและทำความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องแสง


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูปภาพเคลื่อนไหวน่ารักๆผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูปภาพเคลื่อนไหวน่ารักๆ


Record of Learning 12

Record of Learning 12
Science Provision for Early Childhood
Friday 11th Nuvember  2018   

08.30-12.30


Topics and content
            หลังจากที่อาจารย์ให้ทำการทำลองรายบุคคล อาจารย์จึงให้จับกลุ่ม กลุ่มละ 5 คนเพื่อเลือกการทดลองมา 1 การทดลอง กลุ่มดิฉันจึงได้เลือก เรื่องการทำลองเรื่องความลับของทีดำและได้การทดลองโดนมีรายละเอียดดังนี้

อุปกรณ์1.สีเมจิ สีดำ2.กระดาษกรองกาแฟ กรองตะกอนน้ำมัน3.แก้วใส่น้ำ

วิธีทดลอง1.ตัดกระดาษกรองเป็นแถบยาวๆ2.ระบายสีเมจิที่ต้องการทดสอบให้เป็นแถบหนา โดยห่างจากปลายกระดาษประมาณ 1 ซม.3.จุ่มปลายกระดาษในช่วงที่เว้นไว้ 1ซม. ลงในน้ำ รอดู สังเกตแถบสีที่เริ่มไต่สูงขึ้นไปบนกระดาษกรอง  เธอเห็นสีอะไรซ่อนอยู่?

จากนั้นก็ได้ทำการถ่ายวิดิโอเพื่อเก็บข้อมูลและน้ำเสนออาจารย์ในคาบเรียน
















การจัดกิจกรรมกับเด็ก

















Assessment

Teacher อาจารย์อธิบายข้อดีและข้อเสียของวิดิโอที่ถ่ายมาและให้ปรับแก้เกี่ยวกับคำถามปลายเปิดเพื่อกระตุ้นให้เด็กมีความสนใจที่จะหาคำตอบกับกิจกรรมมากยิ่งขึ้น

Friend เพื่อนทุกคนตั้งใจชมวิดิโอและนำข้อเสียมาปรับแก้


Me ฟังคำแนะนำของอาจารย์และการอธิบายเพิ่มเติม


รูปภาพที่เกี่ยวข้องผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูปภาพเคลื่อนไหวน่ารักๆรูปภาพที่เกี่ยวข้อง


Record of Learning 11



Record of Learning 11
Science Provision for Early Childhood
Friday 26th October  2018

08.30-12.3



Topics and content

       อาจารย์แนะนำวิดิโอที่ทำมานำเสนอเพื่อปรับแก้ใขให้ดูดีขึ้นและตรงกับจุดประสงค์ของการเรียนรู้มากยิ่งขึ้น

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ คว้ำแก้วดับเทียน


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ คว้ำแก้วดับเทียน




ประเด็นปัญหา  จำทำอย่าไรให้ไฟดับ
สมมติฐาน  ถ้านำแก้วไปคว้ำครอบเทียนไว้ไฟที่ติดอยู่อาจจะดับลง




Assessment

Teacher อาจารย์อธิบายข้อดีและข้อเสียของวิดิโอที่ถ่ายมาและให้ปรับแก้เกี่ยวกับคำถามปลายเปิดเพื่อกระตุ้นให้เด็กมีความสนใจที่จะหาคำตอบกับกิจกรรมมากยิ่งขึ้น

Friend เพื่อนทุกคนตั้งใจชมวิดิโอและนำข้อเสียมาปรับแก้

Me ฟังคำแนะนำของอาจารย์และการอธิบายเพิ่มเติม


Record of Learning 10

Record of Learning 10

Science Provision for Early Childhood

Friday 19th October 201808.30-12.30


Topics and content
            หลังจากที่อาจารย์ให้ทำการทำลองรายบุคคล อาจารย์จึงให้จับกลุ่ม กลุ่มละ 5 คนเพื่อเลือกการทดลองมา 1 การทดลอง กลุ่มดิฉันจึงได้เลือก เรื่องการทำลองเรื่องความลับของทีดำและได้การทดลองโดนมีรายละเอียดดังนี้

อุปกรณ์1.สีเมจิ สีดำ2.กระดาษกรองกาแฟ , กรองตะกอนน้ำมัน
3.แก้วใส่น้ำ

วิธีทดลอง1.ตัดกระดาษกรองเป็นแถบยาวๆ2.ระบายสีเมจิที่ต้องการทดสอบให้เป็นแถบหนา โดยห่างจากปลายกระดาษประมาณ 1 ซม.3.จุ่มปลายกระดาษในช่วงที่เว้นไว้ 1ซม. ลงในน้ำ รอดู สังเกตแถบสีที่เริ่มไต่สูงขึ้นไปบนกระดาษกรอง  เธอเห็นสีอะไรซ่อนอยู่?

จากนั้นก็ได้ทำการถ่ายวิดิโอเพื่อเก็บข้อมูลและน้ำเสนออาจารย์ในคาบเรียน
















Assessment

Teacher อาจารย์อธิบายข้อดีและข้อเสียของวิดิโอที่ถ่ายมาและให้ปรับแก้เกี่ยวกับคำถามปลายเปิดเพื่อกระตุ้นให้เด็กมีความสนใจที่จะหาคำตอบกับกิจกรรมมากยิ่งขึ้น

Friend เพื่อนทุกคนตั้งใจชมวิดิโอและนำข้อเสียมาปรับแก้

Me ฟังคำแนะนำของอาจารย์และการอธิบายเพิ่มเติม



ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูปภาพเคลื่อนไหวน่ารักๆ  à¸œà¸¥à¸à¸²à¸£à¸„้นหารูปภาพสำหรับ รูปภาพเคลื่อนไหวน่ารักๆผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูปภาพเคลื่อนไหวน่ารักๆ





สรุปวิจัย /บทความ / ตัวอย่างการสอน

สรุปวิจัย       1. เป็นการปูพื้นฐานให้กับเด็กโดยคํานึงถึงความสามารคและความเหมาะสมกับวัย ของเด็กเป็นหลัก การจัดกิจกรรมปูพื้นฐานทักษะทางกา...